Loading ...
Global Do...
News & Politics
21
0
Try Now
Log In
Pricing
วิธีการหากลุมขอมูลของเอกสารอยางรวดเร็ว A Fast Block Extraction Method for Document Segmentation ไพศาล สุธีบรรเจิด*, วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์**, และ นุชรี เปรมชัยสวัสดิ์*** *คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กรุงเทพ 10520 โทร. 0-2860-8886 E-mail: mr_phaisarn@yahoo.com **ผูชวยอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม 235 ถ. เพชรเกษม เขตภาษีเจริญ กรุงเทพ 10163 wichian@siam.edu ***คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ถนนประชาชื่น หลักสี่ กรุงเทพ 10210 nucharee@dpu.ac.th บทคัดยอ ปจจุบันมีวิธีที่ใชในการแบงโครงสรางของเอกสารอยางมีประสิทธิ ภาพและรวดเร็ว เชน การทํา Block Extraction โดยใชกรอบหนาตาง ขนาด 32*32 พิกเซล[1] วิธีนี้จะหาจุดดําจุดแรกเพื่อใชในการเริ่มตนวาง กรอบหนาตางขนาด 32*32 พิกเซล จากนั้นจะใชกรอบหนาตางนี้เดิน รอบขอบของกลุมขอมูล ก็จะสามารถแบงเอกสารออกเปนกลุมขอมูลได อยางรวดเร็ว แตวิธีที่กลาวถึงนี้ไมไดอธิบายในสวนของ การหาจุดดําจุด แรก ซึ่งใชเปนจุดเร่ิมตนในการประมวลผล ในบทความนี้จึงไดนําเสนอ วิธีที่ใชในการหาจุดดําจุดแรกอยางมีประสิทธิภาพ และรวดเร็ว ดวยการ ใชหนาตาง แลวตรวจสอบเพียงบางจุดในหนาตาง ไมตองตรวจสอบทุก จุด ทําใหสามารถทํา Block Extraction ไดรวดเร็วขึ้น ในบทความนี้ไดนํา เสนอหนาตางที่ออกแบบขึ้นทั้งหมด 6 แบบ นํามาเปรียบเทียบ และเลือก หนาตางที่เหมาะสมที่สุดในการนําไปใช จากผลการทดลองพบวาวิธีการ ที่นําเสนอสามารถทํางานไดเร็วขึ้น คําสําคัญ: การแบงโครงสรางของเอกสาร, หนาตาง Abstract In the document segmentation process, the first black pixel must be found and used as the starting point of the process. This paper presents a new method for finding the starting point in an efficient way. To speed up the process. Six types of windows are proposed and their efficiency is also compared. The experimental results show that the proposed method can speed up the process for finding the starting point significantly. Key words: document segmentation, window 1. คํานํา การทํา Document Segmentation มีอัลกอริทึมที่ใชในการทําอยู หลายอักกอริทึม โดยจุดเดนของแตละอักกอริทึมจะอยูที่ประสิทธิภาพใน ดานความถูกตองแมนยํา และความรวดเร็วในการคํานวณ โดยอัลกอริทึม ตางๆเหลานี้สามารถแบงไดเปน 3 ประเภท ไดแก 1.1 วิธีการบนลงลาง (Top-Down Approach) [2] วิธีการนี้ในเบื้องตนจะทําการแบงภาพอยางหยาบๆกอน โดยแบง ภาพเอสารใหเปนกลุมขอมูลที่มีขอบเขตใหญกอน จากนั้นจึงนําแตละ กลุมขอมูลที่มีขอบเขตใหญ มาแบงอยางละเอียดอีกที ใหเปนกลุมขอมูลที่ มีขอบเขตเล็กลง 1.2 วิธีการลางขึ้นบน (Bottom-Up Approach) [3] เปนการวิเคราะหสวนประกอบยอย แลวนําสวนประกอบยอยที่ได มาประกอบกันเปนบรรทัด และกลุมขอมูล(block) โดยพิจารณาจากความ ใกลชิด และขนาดของแตละสวนประกอบ 1.3 วิธีการแบบผสม (Mixed Approach) [4-5] เปนการนําวิธี top-down มาใชรวมกับวิธี bottom-up เชน อัลกอริ ทึมของ B. Kruatrachue และ P. Suthaphan [1] ซึ่งทํางานดังนี้ 1. Block Extraction (top-down) [1] โดยใชกรอบหนาตางขนาด 32*32 พิกเซลเดินรอบขอบของกลุมขอมูลเพื่อใชในการแบงขอมูลออกเปน สวนประกอบใหญ 2. Multi-Column Block Detection and Segmentation (Bottom-up) [1] เดินรอบขอบทีละ 1 พิกเซล เพื่อหาขอบเขตยอย แลวนําขอบเขตยอย มาหาแนวบรรทัด เพื่อใชในการตัดแบงคอลัมน จุดเดนของวิธีนี้คือ การใชกรอบหนาตางขนาด 32*32 พิกเซล [1] ในการเดินรอบขอบของกลุมขอมูล โดยไมตองตรวจสอบทุกจุด ทําให การประมวลผลเปนไปอยางรวดเร็ว แตวิธีนี้ยังไมสมบูรณ เพราะไมได กลาวถึงขั้นตอนการหาจุดดําจุดแรก ที่ใชเปนจุดเร่ิมตนในการวางกรอบ หนาตางขนาด 32*32 พิกเซล DS09การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 26 (EECON-26) 6-7 พฤศจิกายน 2546 สจพ. ________________________________________________________________________________________________________________________________ 1069 บทความนี้จึงนําเสนอวิธีการหาจุดดําจุดแรก เพื่อใชเปนจุดเร่ิมตน ในการวางกรอบหนาตางขนาด 32*32 พิกเซล อยางมีประสิทธิภาพ และ รวดเร็ว ดวยการใชหนาตางแลวตรวจสอบเพียงบางตําแหนงในหนาตาง ในบทความนี้ไดพัฒนาและออกแบบหนาตางทั้งหมด 6 แบบ แลว ทําการทดลอง และนําผลมาเปรียบเทียบหาขนาด และรูปแบบหนาตางที่ ใหผลการทํางานดีที่สุด โดยวัดจากประสิทธิภาพในดานความถูกตอง และความรวดเร็วในการคํานวณ 2. การแบงสวนประกอบของภาพเอกสาร การแบงสวนประกอบของภาพเอกสาร คือการแบงขอบเขตของ ภาพออกเปนสวนๆ โดยในแตละสวนจะมีรายละเอียดที่เปนชนิดเดียวกัน เชน ขอบเขตขอมูลที่เปนขอความ, ขอบเขตขอมูลที่เปนภาพ ซึ่งแบงขั้น ตอนการทํางานไดเปน 2 ขั้นตอนดังนี้ 2.1 Block Extraction (top-down) การทํา Block Extraction คือการแบงสวนประกอบของเอกสาร ออกเปนสวนใหญๆ เหมือนกับการใชสายตามองภาพในระยะไกลแลว แบงภาพออกเปนสวนๆ ดังในรูปที่2. การทํา Block Extraction สามารถแบงการทํางานออกไดเปน 2 ขั้น ตอน ดังนี้ รูปที่ 1. ภาพตนฉบับ รูปที่ 2. ภาพที่ผานขั้นตอนการทํา Block Extraction 2.1.1 การหาจุดเร่ิมตนของกลุมขอมูล ในขั้นตอนนี้ จะทําการคนหา และกําหนดตําแหนงเร่ิมตนในการ วางกรอบหนาตางอันแรก (กรอบหนาตางขนาด 32*32พิกเซล) ของขั้น ตอนการหาขอบเขตของกลุมขอมูล การหาตําแหนงเร่ิมตนของกลุมขอมูล ก็คือการตรวจสอบหาจุดดํา จุดแรก ซึ่งถาสามารถตรวจสอบหาจุดดําจุดแรกไดอยางรวดเร็ว ก็จะ สามารถทําขั้นตอน Block Extraction ไดอยางรวดเร็วตามไปดวย ในบท ความนี้จึงไดเสนอวิธีในการหาจุดดําจุดแรกอยางรวดเร็วและมีประสิทธิ ภาพ ดวยการใชหนาตาง ในการทํางานแลวตรวจสอบเพียงบางตําแหนง ในหนาตาง ทําใหการประมวลผลเปนไปไดอยางรวดเร็ว ใบบทความนี้ ไดนําเสนอหนาตางที่ไดพัฒนา และออกแบบทั้ง หมด 6 แบบ ดังแสดงในรูปที่3. รูปที่ 3. หนาตางแบบ “A” – “F” หนาตางแตละแบบที่ไดพัฒนาและออกแบบมา มีขอแตกตางกันดังนี้ - ขนาดหนาตาง - จํานวนจุดที่ใชตรวจสอบ (จุดในรูปคือตําแหนงที่ใชตรวจสอบ) - การกระจายตําแหนงของจุดที่ใชตรวจสอบ การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 26 (EECON-26) 6-7 พฤศจิกายน 2546 สจพ. ________________________________________________________________________________________________________________________________ 1070 แนวคิดที่ใชในการออกแบบหนาตาง คือ หนาตางตองมีขนาดใหญ แตจํานวนจุดที่ใชในการตรวจสอบตองมีจํานวนนอย (เพื่อใหการตรวจ สอบหนาตางเปนไปอยางรวดเร็ว) และการกระจายตําแหนงจุดที่ใชตรวจ สอบตองเปนไปอยางสมดุลย เพื่อใหแตละจุดครอบคุมพื้นที่ใหมากที่สุด การหาจุดเร่ิมตนของกลุมขอมูล(การหาจุดดําจุดแรก) ทําไดโดยนํา หนาตางแรกวางที่ตําแหนงมุมบนซายของภาพเอสาร แลวตรวจสอบภาย ในหนาตางวามีจุดดําหรือไม โดยตําแหนงที่ทําการตรวจสอบหาจุดดําขึ้น อยูกับชนิดของหนาตางที่นํามาใช (ดูรูปที่3. ประกอบ) ถาตรวจพบจุดดํา ภายในหนาตาง จะตรวจสอบวาจุดดําที่พบเปนสัญญาณรบกวน (noise) หรือไมโดยการเดินรอบขอบ ณ. ตําแหนงที่พบจุดดํา โดยเดินทีละ 1 พิก เซล ถาความกวาง หรือความยาวที่ไดมากกวา 5 พิกเซล ใหถือวาสิ่งที่อยู ภายในหนาตางนี้คือขอมูลใหจบการทํางานในขั้นตอนนี้ และสงตําแหนง มุมบนซายของหนาตางนี้ ใหเปนจุดเร่ิมตนของขั้นตอน “การหาขอบเขต ของกลุมขอมูล” ตอไป แตถาความกวางและความยาวนอยกวา 5 พิกเซล ถือวากลุมจุดสีดําที่พบเปนสัญญาณรบกวน ใหลบสัญญาณรบกวนนี้ออก จากภาพเอกสาร แลวตรวจสอบตําแหนงตอไปภายในหนาตาง ถาตรวจ สอบทุกตําแหนงในหนาตางแลว ยังไมพบจุดดํา ใหถือวาภายในหนาตาง นี้ไมมีขอมูล จากนั้นใหวางหนาตางตอไป การวางหนาตางจะวางจากซาย ไปขวา และจากบนลงลางดังในรูปที่4. รูปที่ 4. ลําดับการวางหนาตางในขั้นตอน การหาจุดเร่ิมตนของกลุมขอมูล 2.1.2 การหาขอบเขตของกลุมขอมูล เมื่อไดตําแหนงเร่ิมตนของกลุมขอมูลแลว จะทําการวางกรอบหนา ตางขนาด 32*32 พิกเซล รอบขอบของกลุมขอมูลตามทิศทางรหัสแนว (Chain Codes) จนกระทั่ง หนาตางกลับมาที่ตําแหนงเร่ิมตนจึงหยุด โดย กําหนดวา ในกรอบหนาตางขนาด 32*32 พิกเซลนี้ ตองมีพิกเซลดําอยู อยางนอย 10 พิกเซล จึงจะถือวาเปนหนาตางที่มีขอมูล การเดินรอบขอบ ขอมูลดวยกรอบหนาตางนี้ ทําใหรูขอบเขตของกลุมขอมูลได ซึ่งขอบเขต ของกลุมขอมูลที่ไดนี้ สามารถมีรูปรางตางๆกันได ขึ้นอยูกับขอมูลที่มี ไม จําเปนวาจะตองเปนสี่เหลี่ยม จากนั้นกลับไปทําขั้นตอนที่ 2.1.1 เพื่อหาจุด เร่ิมตนของกลุมขอมูลอื่นๆตอไป หลังจากผานขั้นตอน Block Extraction แลว ขอมูลที่ไดจะถูกแบง ออกเปนกลุมขอมูล(block) ซึ่งในแตละกลุมขอมูลอาจมีมากกวา 1 คอลัมนได เนื่องจากระยะหางระหวางคอลัมนนอยกวา 32 พิกเซล ซึ่งตอง มีการแยกคอลัมนออกจากกันโดยใช Multi-Column Block Detection and Segmentation ซึ่งจะกลาวถึงในขั้นตอนตอไป รูปที่ 5. ภาพที่ผานขั้นตอนการทํา Block Extraction โดยการ หาตําแหนงเร่ิมตนของกลุมขอมูลดวยการสแกนแบบ raster รูปที่ 6. ภาพที่ผานขั้นตอนการทํา Block Extraction โดยการ หาตําแหนงเร่ิมตนของกลุมขอมูลดวยการใชหนาตาง DS09การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 26 (EECON-26) 6-7 พฤศจิกายน 2546 สจพ. ________________________________________________________________________________________________________________________________ 1071 รูปที่5-6 เปรียบเทียบ การหาตําแหนงเร่ิมตนของกลุมขอมูลดวยวิธี การสแกนแบบ raster ดังรูปที่5. และการหาตําแหนงเร่ิมตนของกลุมขอ มูลดวยการใชหนาตางดังรูปที่6. โดยจุดสีแดงในรูปแสดงตําแหนงที่ใช ในการตรวจสอบหาจุดดําจุดแรก ซึ่งสามารถเห็นไดวาจุดสีแดงในรูปที่6. นอยกวาจุดสีแดงในรูปที่5. ซึ่งหมายถึงวา รูปที่6. สามารถประมวลผลได รวดเร็วกวารูปที่5. เปนอยางมาก (เสนสีน้ําเงินในรูปคือ กรอบหนาตาง ขนาด 32*32 พิกเซล) 2.2 Multi-Column Block Detection and Segmentation (bottom - up) จากขั้นตอน Block Extraction ที่ผานมา เปนไปไดที่ใน 1 กลุมขอ มูล (block) จะมีมากกวา 1 คอลัมน จึงใชวิธี bottom-up ในการแบง คอลัมนให 1 กลุมขอมูลมีเพียง 1 คอลัมน โดยแยกขอมูลออกเปนสวน ยอยที่สุดดวยการเดินรอบขอบทีละ 1 พิกเซล จะทําใหสามารถหากรอบสี่ เหลี่ยม รอบสวนประกอบยอยได (bounding box) ถากรอบสี่เหลี่ยมของ สวนประกอบยอยที่ได มีความกวาง หรือความสูงมากกวาคาที่กําหนดไว ก็จะกําหนดใหเปนขอมูลชนิดรูปภาพ แตถาความกวาง และความสูงนอย กวาคาที่กําหนดไว ก็จะใหเปนขอมูลชนิดตัวอักษร จากนั้นนํากรอบสี่ เหลี่ยมของสวนประกอบยอยมาหาแนวระดับบรรทัด จากนั้นวิเคราะห การตัดแบงคอลัมน ดวยการฉายเงาภาพจุดขาวที่บรรทัดแรกของกลุมขอ มูล การฉายเงาภาพจุดขาวจะทําเฉพาะจุดขาวที่อยูระหวาง กรอบสี่เหลี่ยม ของสวนประกอบยอย ตามแนวตั้ง ถาความกวาง และความสูงของการ ฉายเงาภาพจุดขาวนี้มีคามากกวาคาที่กําหนดไว จะกําหนดใหเปนแนว แบงคอลัมน แนวแบงคอลัมนสิ้นสุดที่แถว(y)ใด ก็จะเริ่มตนทําการฉาย เงาภาพจุดขาวที่แถวนั้นตอ จนกระทั้งสิ้นสุดภาพเอกสาร หรือจบเมื่อไม สามารถตัดแบงคอลัมนไดอีก 3. ผลการทดลอง จากหนาตางที่ไดพัฒนา และออกแบบมาทั้ง 6 แบบ จะเลือกหนา ตางที่ดีที่สุด มาใชหาจุดเร่ิมตนของกลุมขอมูล โดยเลือกจากเงื่อนไขใน ดานของประสิทธิภาพความถูกตอง และเวลาที่ใชในการคํานวณ 3.1 ความถูกตอง นําหนาตางทั้ง 6 แบบ มาทดสอบกับภาพอักษรภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ หนาตางแบบ “A”–“D” สามารถทํางานไดอยางถูกตอง สวนหนาตางแบบ “E”–“F” ยังมีการทํางานที่ผิดพลาดอยูบาง คือ ไม สามารถตรวจจับสัญลักษณบางตัวได ดังในรูปที่7. 3.2 เวลาที่ใชในการคํานวณ นําหนาตางทั้ง 6 แบบ มาเปรียบเทียบเวลาการทํางาน เพื่อแสดงให เห็นถึงประสิทธิภาพในการคํานวณที่รวดเร็วของหนาตางแตละแบบ โดย การทดลองนี้ จับเวลาเฉพาะขั้นตอนการทํา Block Extraction เทานั้น เพื่อใหสามารถเห็นถึงเวลาที่แตกตาง ของหนาตางแตละแบบไดอยางชัด เจน (ก) (ข) รูปที่ 7. (ก) แสดงความผิดพลาดจากการใชหนาตาง ”E”, ”F” (ข) จากรูป (ก) ขยายภาพใหดูไดชัดเจนขึ้น การทดลองนี้ ทําบนเครื่อง Pentium4 1.6 GHz แรม 256 MB ภาย ใตระบบปฏิบัติการ WindowXP ใชโปรแกรมภาษา Visual Basic.Net 2002 เอกสารขนาด A4 สแกนที่ความละเอียด 300dpi ภาพเอกสารไมมี กรอบ ภาพเอกสารที่ใชในการจับเวลาแสดงในรูปที่9. เวลาที่ใชในการ ทดลองแสดงในตารางที่1. การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 26 (EECON-26) 6-7 พฤศจิกายน 2546 สจพ. ________________________________________________________________________________________________________________________________ 1072 ตารางที่ 1. เปรียบเทียบเวลาการทํางานของหนาตางแบบตางๆ แบบ หนา ตาง ขนาด หนา ตาง จุดท้ัง หมด จุดท่ีใช ตรวจ สอบ จุดท่ีใชตรวจ สอบคิดเปน % เวลา (sec) A 18x18 324 52 16.049 7.801 B 18x18 324 32 9.877 7.39 C 11x11 121 9 7.438 7.37 D 12x12 144 14 9.72 7.43 E 16x16 256 14 5.469 7.06 F 20x20 400 14 3.5 6.77 จากตารางที่1 แสดงเวลาการทํางานในขั้นตอน Block Extraction โดยใชการหาจุดเร่ิมตนของกลุมขอมูล ดวยหนาตางแบบตางๆ หนาตาง ทั้ง 6 แบบใชเวลาประมาณ 6 - 8 วินาที ซึ่งรวดเร็วกวาการหาจุดเร่ิมตน ของกลุมขอมูลดวยการสแกนแบบ raster ซึ่งใชเวลา 24.986 วินาที 4. สรุปผลการทดลอง ในบทความนี้นําเสนอ วิธีการหาจุดเร่ิมตนของกลุมขอมูล อยางมี ประสิทธิภาพ และรวดเร็วดวยหนาตางแบบ “C” ซึ่งเหมาะกับงานคุณ ภาพ ที่ตองการความถูกตองสูง และการประมวลผลที่รวดเร็ว แตในกรณีที่ตองการนําอัลกอริทึมนี้ ไปใชกับภาพเอกสารที่สแกน ดวยความละเอียดที่มากกวา 300dpi (มีผลทําใหตัวอักษรในภาพเอกสารมี ขนาดใหญขึ้น) หรือนําไปใชกับภาพเอกสารที่ตัวอักษรมีขนาดใหญ ขอ แนะนําหนาตางแบบ “E” (ซึ่งสามารถทํางานไดอยางถูกตองเมื่อตัวอักษร มีขนาดใหญขึ้นและยังทํางานไดรวดเร็วกวาหนาตางแบบ “C”) แตถาตัว อักษรมีขนาดใหญมาก ขอแนะนําหนาตางแบบ “F” หรือจะสรางหนาตาง ขึ้นมาใหมโดยนําหนาตางแบบ “F” มาทําการขยายขนาด (ซึ่งจริงๆแลว หนาตางแบบ “F” ก็คือการนําหนาตางแบบ “E” มาขยายขนาดนั่นเอง) รูปที่ 8. ตัวอยางภาพที่ผานขั้นตอน Block Extraction รูปที่ 9. ตัวอยางภาพที่ผานขั้นตอน Block Extraction กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ อาจารย วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์ ที่ใหคําแนะนําปรึกษา จนบทความนี้สําเร็จลุลวงไปดวยด ี ขอขอบคุณ อาจารย ธนารัตน ชลิดาพงศ ที่ไดสั่งสอนความรูพื้น ฐานเกี่ยวกับ Digital Image Processing เอกสารอางอิง [1] B. Kruatrachue, P. Suthaphan, “A Fast and Efficient Method for Document Segmentation for OCR,” Electrical and Electronic Technology, 2001. Vol. 1, 19-22 Aug. 2001 pp. 381 -383 [2] T. Akiyama and N. Hagita, “Automated entry system for printed documents,” Pattern Recognition 23, 1990, pp. 1141-1154. [3] K. C. Fan, C. H. Liu, and Y. K. Wang, “Segmentation and classification of mixed text/graphics/image documents,” Pattern Recognition Letters 15, 1994, pp. 1201-1209. [4] S. N. Srihari, T. Hong, and G. Srikantan, “Machine printed Japanese document recognition,” Pattern recognition 30, 1997, pp. 1301- 1313. [5] D. Wang, S.N. Srihari. “Classification of Newspaper Image Blocks using Texture Analysis,” Computer Vision, Graphics, and Image Processing, Vol. 47, 1989, pp. 327-352. DS09การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 26 (EECON-26) 6-7 พฤศจิกายน 2546 สจพ. ________________________________________________________________________________________________________________________________ 1073 ภาคผนวก แนวคิดในการออกแบบหนาตาง ในขั้นตอนการออกแบบหนาตางไดคนพบวา หนาตางแบบ “C” มี ความสมมาตร เหมาะที่จะนํามาใชในการตรวจหาจุดดําจุดแรก แตการนํา หนาตางมาใช โดยการวางหนาตางจากซายไปขวา และจากบนลงลางดัง รูปที่4. ทําใหเกิดขอจํากัด คือ ไมสามารถขยายขนาดของหนาตางใหมี ขนาดใหญขึ้นได เพราะการขยายขนาดหนาตางจะทําใหชองวางระหวาง หนาตางขนาดใหญขึ้นตามไปดวย ซึ่งพื้นที่บริเวณนี้จะไมไดรับการตรวจ หาจุดดํา ทางออกของปญหานี้คือตองวางหนาตางแบบ “C” เยื้องกัน ซึ่ง ชองวางที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเล็กกวาการวางเรียงแบบเดิม จึงไดมีการ พัฒนาหนาตางแบบ “D” แลวทําการขยายขนาดเปนหนาตางแบบ “E” และหนาตางแบบ “F” ตามลําดับ (ก) (ข) รูปที่ 10. ลําดับการวางหนาตางแบบ “E” รูปที่10. (ก) เปนการวางหนาตางแบบ “E” จํานวน 6 คร้ัง (ข) เนนใหเห็นถึงหนาตางแบบ “C” ที่ซอนอยูภายในหนาตางแบบ “E” นาย ไพศาล สุธีบรรเจิด คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สนใจงานในดาน Digital Image Processing รศ.ดร. วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์ จบปริญญาเอกจาก Waseda University, Tokyo ประเทศญี่ปุน รศ.ดร.นุชรี เปรมชัยสวัสดิ ์ จบปริญญาเอกจาก Waseda University, Tokyo ประเทศญี่ปุน การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 26 (EECON-26) 6-7 พฤศจิกายน 2546 สจพ. ________________________________________________________________________________________________________________________________ 1074